รศ. ดร. ปราโมทย์ พรสุริยา
เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ที่มีผลงานวิจัยที่มีรูปแบบการวิเคราะห์ในเชิงสถิติมาแล้วกว่า 100 เรื่อง และได้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิให้กับวารสารวิจัย และโครงการวิจัยต่างๆมากมาย ทั้งยังได้เป็นบรรณาธิการวารสารให้กับทางมหาลัยอีกด้วย
ปัจจุบันเป็นอาจารย์อยู่ที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
ประวัติการศึกษา
- วท.ด. พืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- วท.ม. เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- วท.บ. เกษตรศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Certificates
- International Training Workshop on Demonstration and Promotion of Vegetables New varieties and Technologies (2555) Anhui Jianghuai Horticultural Technology Co. LTD, China
- Horticultural Production under Protected Environments (2544) JICA, Japan
- International Course on Intensive Vegetable Production under Various Growing Conditions (2542) MASHAV, Israel
- International Group Training on Plant Protection Services (2540) DOAE, Thailand
ผลงานด้านการเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในด้านต่างๆ
- ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพบทความวิชาการ
- วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
- วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
- วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์
- วารสารวิจัย มทร. กรุงเทพ
- วารสารวิจัย มทร. ศรีวิชัย
- วารสารวิจัย มทร. ตะวันออก
- วารสารเกษตรพระพิรุณ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
- ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย
- ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจบทความวิจัยรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
- บรรณาธิการ รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการพืชไร่วงศ์ถั่วแห่งชาติ ครั้งที่ 2
- บรรณาธิการ วารสารศูนย์บางพระ, วารสารเกษตรบางพระ
- บรรณาธิการ วารสารวิจัย มทร. ตะวันออก (2558-ปัจจุบัน)
- ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานตำแหน่งทางวิชาการ
- อาจารย์พิเศษ ม. เทคโนโลยีสุรนารี
- อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์นักศึกษาปริญญาโท
- กรรมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ ป.โท (ม. เทคโนโลยีสุรนารี)
- วิทยากร “สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูป” “การผลิตผักปลอดภัย&ผักอินทรีย์”
ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ
ปราโมทย์ พรสุริยา. 2539. เอกสารประกอบการสอนวิชาพืชผักอุตสาหกรรม. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, ชลบุรี. 229 น.
ปราโมทย์ พรสุริยา. 2554. เอกสารประกอบการสอนวิชาหลักการปรับปรุงพันธุ์พืช. สาขาวิชาเทคโนโลยีการ ผลิตพืช คณะเกษตรศาสตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตะวันออก, ชลบุรี (โรเนียว)
ปราโมทย์ พรสุริยา. 2554. บทปฏิบัติการวิชาหลักการปรับปรุงพันธุ์พืช. สาขาวิชาเทคโนโลยีการ ผลิตพืช คณะเกษตรศาสตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, ชลบุรี. 36น.
ปราโมทย์ พรสุริยา และ พรทิพย์ พรสุริยา. 2554. บทปฏิบัติการวิชาเทคโนโลยีการผลิตผัก. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, ชลบุรี. 85 น.
ปราโมทย์ พรสุริยา. 2556. เอกสารคำสอนวิชาการวางแผนการทดลองทางพืชศาสตร์. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชคณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, ชลบุรี. 171 น.
ปราโมทย์ พรสุริยา. 2557. การวิเคราะห์ทางไบโอเมตริกในการปรับปรุงพันธุ์พืช. โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, กรุงเทพฯ. 211 น.
ผลงานตีพิมพ์ (2 ปี ย้อนหลัง)
ปี พ.ศ. 2562
Pramote Pornsuriya, Pornthip Pornsuriya, Apisit Chittawanij and Patiyut Kwan-on. (2019). Lines Comparison and Effect of Inbreeding on Fruit Characters of Lines Developed from an Open-Pollinated Sweet Melon Population. Proceedings of The 10th Rajamangala University of Technology International Conference (pp. 50-54). Chiang Mai: Rajamangala University of Technology Lanna.
Pornsuriya, P., P. Pornsuriya and A. Chittawanij (2019). Augmented analysis for yield and pod characteristics of yardlong bean (Vigna unguiculata (L.) Walp. spp. sesquipedalis Verdc.) lines. International Journal of Agricultural Technology 15(6):987-996.
ปราโมทย์ พรสุริยา พรทิพย์ พรสุริยา และ ธันวา เกตุโอน. (2562). การคัดเลือกและการกระจายของลักษณะ ฝักสีม่วงในสายพันธุ์ถั่วฝักยาวลูกชั่วรุ่นที่ 5. น. 263-271 ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมทางวิชาการ เมล็ดพันธุ์พืชแห่งชาติ ครั้งที่ 16. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, ลพบุรี.
ไพฑูรย์ นาคเกษม,ปราโมทย์ พรสุริยา และ ประพฤติ พรหมสมบูรณ์. (2562). เสถียรภาพของผลผลิตของ ข้าวโพดข้าวเหนียว (Zea mays var. ceratina) 6 พันธุ์ .ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 6 (3): 1-8.
หนูจันทร์ สิริสุวรรณ์,ปราโมทย์ พรสุริยา และ ประพฤติ พรหมสมบูรณ์. (2562). การทดสอบผลผลิตในชั่วรุ่น แรกๆ ของข้าวโพดเทียน (Zea mays var. ceratina) ที่คัดเลือกจากพันธุ์พื้นเมือง. น. 574-579 ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมมนาทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ครั้ง ที่ 12. 26-28 มิถุนายน 2562. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, ชลบุรี.
ปี พ.ศ. 2561
Pramote Pornsuriya, Pornthip Pornsuriya and Anucha Julakasewee. 2018. Genetic Variability, Heritability and Genetic Advance among Yardlong Bean Lines. Proceedings of the 9th International Conference of Rajamangala University of Technology (pp. 189-195). Rajamangala University of Technology Srivijaya, Trang.
ปราโมทย์ พรสุริยา, พรทิพย์ พรสุริยา, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช และ ธนาวัฒน์เยมอ. 2561. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมกับสภาพแวดล้อมและเสถียรภาพของผลผลิตในถั่วฝักยาว. แก่นเกษตร 46 (พิเศษ 1). 1406-1411.
ปราโมทย์ พรสุริยา พรทิพย์ พรสุริยา อนุชา จุลกะเสวี และ รุศมา มฤบดี. 2561. ความก้าวหน้าในการคัดเลือกผลผลิตเมล็ดพันธุ์ของสายพันธุ์ถั่วฝักยาวในชั่วรุ่นที่ 3. น. 183-191 ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมทางวิชาการเมล็ดพันธุ์พืชแห่งชาติ ครั้งที่ 15. โรงแรมเชียงใหม่ภูคำ, เชียงใหม่.
ปราโมทย์ พรสุริยา, พรทิพย์ พรสุริยา, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช และ ธนาวัฒน์ เยมอ. 2561. สมรรถนะการรวมตัวของสายพันธุ์แตงไทยจากการผสมระหว่างสายพันธุ์กับพันธุ์ทดสอบ. ว. วิทย. กษ. 49: 1 (พิเศษ). 71-75.
พรทิพย์ พรสุริยา, ปราโมทย์ พรสุริยา, อภิสิทธิ์ ชิตวณิช, ธนาวัฒน์ เยมอ และ รังสรรค์ กุฏสำโรง. 2561. ผลผลิตและความดีเด่นของลูกผสมระหว่างแตงไทยกับแคนตาลูป. ว. วิทย. กษ. 49: 1 (พิเศษ). 76-79.
ธันวา เกตุโอน,ปราโมทย์ พรสุริยา, สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง และรุศมา มฤบดี. 2561. อัตราพันธุกรรมและความก้าวหน้าในการคัดเลือกของสายพันธุ์ถั่วฝักยาวลูกชั่วรุ่นที่ 3. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลระดับชาติครั้งที่ 10. 1-3 สิงหาคม 2561. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, ตรัง.